วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

องค์ประกอบผลิตภัณฑ์

 องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ 

ประกอบด้วย 4 อย่าง
ผลิตภัณฑ์หลัก core product  ประโชน์หลัก และประโยชน์พื้นฐานของผลิตภัณฑ์ เช่นผงซักฟอก ประโยชน์หลักคือ เพื่อความสะอาด
รูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ formal product  ลักษณะทางกายภาพ หรือ รูปลักษณ์ภายนอกของผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์คาดหวัง expected product ประโยชน์หลายๆอย่าง เช่นประสิทธิภาพ ประโยชน์ ราคา โปรโมชั่นต่าง ๆ
ผลิตภัณฑ์ augmented product ประโชยน์ที่นอกเหนือจากประโชยน์หลัก เช่น การให้บริการอื่น ๆ การประกัน
ศัลยภาพของผลิตภัณฑ์ potential product การพัฒนาลักษณะใหม่ ๆ ของผลิตภัณฑ์ เช่น คุณสมบัติ อรรถประโยชน์


Product เพ็ญจันทร์

Product คำจำกัดความผลิตภัณฑ์ เป็นสิ่งใดๆ ที่นำเสนอสู้คตลาดเพื่อให้เกิดความสนใจ 


เกณณฑ์การจำแนกประเภทผลิตภัณฑ์ 
       อายุใช้งาน ทางกายภาพ จับต้องได้ และไม่ได้ และอุสาหกรรม
ระดับผลิตภัณฑ์ แบ่งเป็น 3 ระดับ
  core customer vale
 Actual product
 Augmented product
Product design
Product strategy decisions มีตัวแปรหลักสำคัญ  3 ตัว
   Individual decisions
   Product line decisions
  product mix decisions

New Product Development โดยคุณปิยภรณ์

New Product Developmentโดยคุณปิยภรณ์


ยกตัวอย่าง เครื่องซักผ้ามือถือจักรยายพัดลม เป็นต้น โดยมีภาพประกอบ
เป็นสินค้าที่มีการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง ไปจากแบบเดิมๆ โดยการจ้างผลิต หรือการซื้อกรรมสิทธิ์ของผลิตภัณฑ์ใหม่
โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วน Input, On process and Output
โดยแบ่งเป็น ผลิตภัณฑ์นวัตกรรม คือ สิ่งใหม่ และ ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงใหม่ และสุดท้ายคือผลิตภัณฑ์เลียนแบบ
ผลิตภัณฑ์ใหม่มีการ Repositioning เช่น น้ำยาอุทัยทิพย์
การผลิตภัณฑ์ใหม่ มี 8 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อได้มาซึ่งไอเดีย 2) วิเคราะห์และประเมินข้อมูล 3) การพัฒนาและทดสอบ 4) การพัฒนากลยุทธ์การตลาด 5) การวิเคราะห์ธุรกิจ 6) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ 7) การทดสอบตลาด และ 8) การวางตลาด
หลังจากนั้นเข้าสู่กระบวนการพัฒนาทางด้านลูกค้า ซึ่งจะมีทั้งที่ประสบความสำเร็จ และไม่สำเร็จ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการสนับสนุนปัจจัยกระบวนการที่มุ่งสู่ความสำเร็จ โดยมีปัจจัยที่สำคัญที่สุดที่สะท้อนความสำเร็จคือ ความพึงพอใจของลูกค้าซึ่งคือผลลัพธ์สุดท้ายในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่

Advertising ( วิรัช )

การโฆษณา 


เป็นเครื่องมือที่มีศักยภาพทรังพนักในการจัดการทางการตลาด
อยู้ในทุกๆ ส่วนของประสมทางการตลาด
ประสิทธิ์ภาพของการโษณา
วางแผนงบประมาณ
วางแผนการโฆษณา
Advertising model

พฤติกรรมการซื้อ

พฤติกรรมการซื้อ

พฤติกรรมการซื้อ พี่นาง
 1 จิตวิทยา
2 เงื่อนไขการติดสินใจซื้อ

Strategy เพ็ญจันทร์

strategy 

marketing planning and strategy 
การบริหารจัดการขึ้นกับ
นโยบาย
ข้อจำกัดของการพัฒนา
3 ระดับองค์กร

Strategic management process  - Step
 บริษัท
 ระดับหน่วยงานในองค์กร
           •ความก้าวหน้า
 
บทนี้จะกล่าวถึงความอยู่รอดของธุรกิจขนาดใหญ่ และมีผลิตภัณฑ์หลายตัว การตลาดเชิงกลยุทธ์ที่จะเกิดขึ้นภายในกระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่มีขนาดใหญ่ของ บริษัท
  Strategic management process
Section 1 : การประเมินผลแบบดั้งเดิมของโอกาสทางการตลาดและจุดแข็งทางธุรกิจ
a. การวิเคราะห์โอกาสและภัยคุกคาม
b. การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งของธุรกิจ

Section 2 : แก่นของกลยุทธ์ทางการตลาด

c. การแบ่งส่วนโดยการวิเคราะห์ตำแหน่ง

d. การวิเคราะห์โอกาส

e. การวิเคราะห์การทำงานร่วมกัน

f. ข้อกำหนดของบทบาทหน้าที่

g. การวิเคราะห์ผลงานหลักการวิเคราะห์ของกระบวนการ
 
Section 3 : รุ่น(ช่วงเวลา ) และการประเมินผลของวัตถุประสงค์และกลยุทธ์รวมทั้ง
h. รุ่นของวัตถุประสงค์และกลยุทธ์
i. . ประเมินวัตถุประสงค์และกลยุทธ์
j. นำลงสู่การปฏิบัติ ติดตามควบคุม
 

strategy ( นทษร )

Strategy 

marketing planning and strategy decisions

( Strategic Management Process )กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ในองค์กรการจัดการเชิงกลยุทธ์ หมายถึง กระบวนการต่อเนื่องในการกำหนดภารกิจและเป้าประสงค์ขององค์กรภายใต้บริบทของสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร การกำหนดกลวิธีที่เหมาะสม การปฏิบัติงานตามกลวิธีที่กำหนดไว้ การใช้อำนาจหน้าที่ในการควบคุมกลยุทธ์ เพื่อทำให้มั่นใจว่ากลวิธีขององค์กรที่นำมาใช้สามารถนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

การพัฒนากลยุทธการตลาดประกอบไปด้วยสามวิธีโดยใช้PIMS program 

product-portfolio models

standardized, customized, and financial approaches

normative resource-allocation approaches

วิธีการเหล่านี้ต่างใช้life cyle, การผันผวนของต้นทุน และ การวิเคราะห์โครงสร้างการตลาดและการพิจารณาทั้งทางตรงและทางอ้อมของการแข่งขัน